ประวัติศาสตร์การใช้ น้ำโคลนในงานขุดเจาะ

ประวัติศาสตร์การใช้ น้ำโคลนในงานขุดเจาะ หลายคนคงมีความสงสัยว่าทำไมในงานขุดเจาะไม่ว่าจะ งานขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ งานเจาะบาดาล งานเจาะท่อลอดฝังดิน หรืองานขุดเจาะหลายๆประเภท จริงต้องใช้นำโคลน ประกอบด้วยหลักๆ น้ำจืด + เกลือ + แร่แบไรต์ + เบนโทไนท์ + โพลีเมอร์ วันนี้เรามีที่มาของการใช้สารเคมีเหล่านี้ให้อ่านกัน

แร่แบไรท์ ( Barite, BaSo4 )

     แร่แบไรท์มาจากภาษากรีก ซึ่งแปลว่าหนัก เนื่องจากแบไรท์เป็นแร่ที่มีความถ่วงจำเพาะสูงกว่าปกติ ส่วนประกอบของ แร่แบไรท์คือ แบเรียมซัลเฟต (BaSO4) โดยทั่วไปแร่แบไรท์มีสีขาวหรือเทาดำ อย่างไรก็ตาม อาจปรากฏ เป็นสีอื่นๆ ได้

กลุ่มพลังงานทดแทนและสินค้าผลพลอยได้จากปาล์มน้ำมัน

     Crude Palm Oil (CPO) – น้ำมันปาล์มดิบซึ่งเป็นน้ำมันที่สกัดมาจากผลปาล์มสด ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์สำหรับ บริโภค / น้ำมันไบโอดีเซล และเป็นส่วนประกอบในอาหารสัตว์

ขั้นตอนการผลิตแร่โดโลไมท์ชนิดเผาสุก

     แร่โดโลไมท์ชนิดเผาสุกนั้น  คือ การนำแร่โดโลไมท์  มาเผาด้วยความร้อนประมาณ 1,000 องศาเซลเซียส  ระยะเวลาในการเผาประมาณ 2 ชั่วโมงต่อน้ำหนักสินค้า 1 ตัน  การผลิตสินค้าจะใช้เตาเผาทรงสี่เหลี่ยม

การใช้งานเบนโทไนท์ (Bentonite) หรือ โซเดี่ยมเบนโทไนท์ (Sodium bentonite)

     เบนโทไนท์ (Bentonite) หรือ โซเดี่ยมเบนโทไนท์ ( Sodium bentonite )สามารถ นำมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่างๆ เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดซับน้ำที่ดี มีอัตราการขยายตัวสูงเมื่อถูกน้ำ